กฎ จราจร มอเตอร์ไซค์

กฎ จราจร มอเตอร์ไซค์

มาตรา 148 อาญา – ประมวมลกฎหมายอาญา มาตรา 148| ทนายความเชียงใหม่ ปรึกษากฎหมายฟรี โทร0957788803

Wed, 20 Jul 2022 21:12:13 +0000

มาตรา 148 คำพิพากษาฎีกาที่ 7600/2544 คดีก่อน ป. ฟ้องขอให้บังคับจำเลยชำระราคาที่ดินที่ค้างชำระ โดยยกข้ออ้างที่อาศัยเป็นหลักแห่งข้อหาว่า จำเลยทำสัญญาซื้อขายที่ดินร่วมสัญญาร่วมลงทุนกับ ป. โดยมีข้อสัญญาเอาเปรียบ ป. สัญญาดังกล่าวเป็นนิติกรรมที่ขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของ ประชาชน จึงขอให้บังคับจำเลยชำระราคาที่ดินที่เหลือพร้อมดอกเบี้ย โจทก์ฟ้องคดีนี้ในฐานะผู้สืบสันดานและเป็นทายาทโดยธรรมของ ป. โจทก์จึงเป็นผู้สืบสิทธิของ ป. โจทก์ในคดีก่อน ถือว่าโจทก์และจำเลยในคดีนี้เป็นคู่ความเดียวกับคดีก่อน การที่โจทก์กลับมาฟ้องคดีนี้โดยอ้างว่า ป. และจำเลยแสดงเจตนาลวงทำสัญญาการซื้อขายที่ดินร่วมสัญญาร่วมลงทุนโดยไม่มี เจตนาที่จะผูกพันกันตามสัญญาจึงเป็นโมฆะ ขอให้เพิกถอนสัญญาการซื้อขายที่ดินร่วมสัญญาร่วมลงทุน แม้จะเป็นการเบียงเบนข้อเท็จจริงที่ ป. ฟ้องคดีก่อน แต่ศาลก็ต้องวินิจฉัยคดีนี้อีกว่า สัญญาการซื้อขายร่วมสัญญาร่วมลงทุนระหว่าง ป. กับจำเลยเป็นโมฆะหรือไม่ ดังนั้น คดีนี้จึงมีประเด็นที่ต้องวินิจฉัยโดยอาศัยเหตุอย่างเดียวกับคดีก่อน ฟ้องโจทก์คดีนี้จึงเป็นฟ้องซ้ำตามป. มาตรา 148 - ความเสียหายที่โจทก์นำมาฟ้องเป็นคดีหลังนี้เป็นค่าเสียหายที่เกิดขึ้นภาย หลังจากศาลมีคำพิพากษาในคดีก่อนแล้ว คำขอบังคับจำเลยทั้งสองตามฟ้องของโจทก์คดีนี้จึงต่างกับคำขอให้บังคับจำเลย ทั้งสองของโจทก์ในคดีก่อน และมิใช่ประเด็นที่ศาลในคดีก่อนวินิจฉัยชี้ขาดแล้วโดยอาศัยเหตุอย่างเดียว กัน ดังนั้นฟ้องโจทก์ในคดีที่สองจึงไม่เป็นฟ้องซ้ำกับคดีแรก ( ฏ.

มาตรา 144 อาญา ข้อสอบ

Written by ทนายแมน on 4 March 2020. Posted in ประมวลกฎหมายอาญา. หาทนาย จ้างทนาย เกี่ยวกับ ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงาน จะทำอย่างไร? มาตรา 148 ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงาน ใช้อำนาจในตำแหน่งโดยมิชอบ ข่มขืนใจหรือจูงใจเพื่อให้บุคคลใดมอบให้หรือหามาให้ซึ่งทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดแก่ตนเองหรือผู้อื่น ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่ห้าปีถึงยี่สิบปี หรือจำคุกตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงสี่แสนบาท หรือประหารชีวิต ป. อ. มาตรา 148

มาตรา 149 อาญา อธิบาย

วิ. พ. มาตรา 148 - คดีแรกศาลได้มีคำวินิจฉัยแล้วว่ารถยนต์คันพิพาทเป็นของผู้ร้องสอด ดังนั้นผลของคำพิพากษาคดีก่อนย่อมผูกพันจำเลยทั้งสองมิให้โต้เถียง กรรมสิทธิ์ในรถยนต์จึงไม่มีสิทธิจะยึดรถยนต์ไว้ คดีหลังที่โจทก์นำมาฟ้องบังคับให้คืนรถยนต์เป็นการฟ้องเพื่อขอให้บังคับตาม สิทธิของตนเอง ซึ่งเกิดจากคำพิพากษาคดีก่อน คดีหลังจึงไม่เป็นฟ้องซ้ำ ( ฏ.

148(3)นี้ ไม่ถือเป็นการพิพากษาเกินคำขอ - การกำหนดระยะเวลาให้โจทก์นำคดีมายื่นฟ้องใหม่ ตาม ม. 148(3) มิใช่การย่นหรือขยายระยะเวลา - คดีเดิมมีการฟ้องร้องกันและศาลได้มีคำพิพากษาตามยอมและคดีถึงที่สุดแล้ว ซึ่งการทำสัญญาประนีประนอมยอมความและศาลได้มีคำพิพากษาก็ถือว่าได้มีคำ วินิจฉัยในประเด็นแล้ว เมื่อนำคดีมาฟ้องใหม่อีก จึงเป็นฟ้องซ้ำ แต่เนื่องจากคดีนี้ปรากฏว่าไม่สามารถปฎิบัติตามคำพิพากษาตามยอมได้ ดังนั้นคำพิพากษาตามยอมในคดีเดิมจึงตกไป เท่ากับยังมิได้มีคำพิพากษาถึงที่สุดในประเด็นที่ได้วินิจฉัยโดยอาศัยเหตุ อย่างเดียวกัน คดีหลังจึงไม่เป็นฟ้องซ้ำ (ฏ.

ฟ้องซ้ำ (มาตรา 148) ~ ฟ้อง.com

กรณีศาลได้วินิจฉัยใน ประเด็นแห่งคดี แต่ไม่ถือเป็นฟ้องซ้ำ เพราะศาลมิได้วินิจฉัยในเนื้อหาแห่งคดีนั้นเอง ดังนั้นจึงนำคดีมาฟ้องใหม่ได้ เช่นดังนี้. - 3. ศาลจำหน่ายคดีเพราะโจทก์ทิ้งฟ้อง ( ฏ. 1740/2520) 3. ยกฟ้องเพราะเหตุฟ้องคดีเคลือบคลุม ( ฏ. 155/2523) 3. ยกฟ้องเพราะฟ้องโจทก์บกพร่อง ( ฏ. 2522/2523) 3. 4. ยกฟ้องเพราะขณะยื่นฟ้องไม่มีอำนาจฟ้อง ( ฏ. 666/2530) 3. 5. กรณีโจทก์ถอนฟ้อง ( ฏ. 268/2489) 4. ข้อยกเว้นตามกฎหมายที่ไม่ถือว่าเป็นการฟ้องซ้ำ มีดังนี้. - 4. การบังคับคดีตามคำพิพากษาหรือคำสั่งศาล - กรณีบังคับคดีไม่พอชำระหนี้ เจ้าหนี้ตามคำพิพากษาขอบังคับเอากับทรัพย์สินอื่นของลูกหนี้อีก - กรณีโต้แย้งว่าการบังคับคดีตามคำพิพากษานั้นไม่ชอบด้วยกฎหมาย 4. คำพิพากษาหรือคำสั่งกำหนดวิธีการชั่วคราว ที่จะแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้ตามพฤติการณ์ - การกำหนดวิธีชั่วคราว คือกำหนดการบังคับคดีเอาไว้ก่อนเป็นการชั่วคราว เช่น ค่าอุปการะเลี้ยงดู 4. ศาลพิพากษายกฟ้องโดยไม่ตัดสิทธิที่จะฟ้องใหม่ภายในอายุความ - ได้แก่ ศาลยกฟ้องเพราะผู้ร้องจัดการมรดกยังไม่สามารถจะแบ่งทรัพย์กันๆได้ในชั้นนี้ ศาลชอบที่จะอนุญาตไว้ในคำพิพากษาหรือคำสั่งเดิมว่าไม่ตัดสิทธิที่จะนำคดีมา ฟ้องใหม่ - การพิพากษาให้นำคดีมาฟ้องใหม่ได้ตาม ม.

ฟ้องซ้ำ (มาตรา 148) หลัก 1. คดีที่มีคำพิพากษาหรือคำสั่งถึงที่สุดแล้ว คู่ความจะนำคดีเรื่องที่เคยพิพาทกันมาในคดีก่อนมาฟ้องกันใหม่อีกไม่ได้ (เป็นฟ้องซ้ำ) 1. 1. คำว่า ถึงที่สุด คือ 1. เมื่อได้อ่านคำพิพากษาหรือคำสั่งที่กฎหมายให้ถือว่าเป็นที่สุด 1. 2. เมื่อพ้นระยะอุทธรณ์หรือฏีกา หรือขอให้พิจารณาคดีใหม่ 1. คำ พิพากษาที่ถึงที่สุด โดยไม่ต้องคำนึงว่าคดีใดยื่นฟ้องก่อนหลัง เพราะหลักของการฟ้องซ้ำ มิได้ถือเวลาที่ยื่นฟ้องเป็นสำคัญ แต่ถือคดีถึงที่สุดเมื่อใด 2. ฟ้องซ้ำต้องเป็นคู่ความเดียวกันจึงจะต้องห้าม 2. คู่ความเดียวกัน แม้คดีก่อนเป็นโจทก์ แต่คดีใหม่กลับมาเป็นจำเลยก็ถือว่าเป็นคู่ความเดียวกัน 2. คู่ความเดียวกัน รวมถึงผู้สืบสิทธิจากคู่ความเดิม เช่นสามีภริยา เจ้าของกรรมสิทธิ์รวม ผู้รับโอนทรัพย์ 2. 3. แม้ เป็นคู่ความเดิมแต่เข้ามาคนละฐานะ ก็ไม่อยู่ในความหมายของคำว่าคู่ความเดิม เช่น คดีก่อนฟ้องคดีในฐานะส่วนตัว คดีใหม่ฟ้องคดีในฐานะผู้แทนโดยชอบธรรม เช่นนี้ไม่ถือเป็นคู่ความเดียวกัน 3. ได้นำคดีมาฟ้องร้องกันใหม่ในประเด็นเดียวกัน ได้อาศัยเหตุอย่างเดียวกันกับคดีก่อน 3. เหตุ อย่างเดียวกัน หมายถึง คำพิพากษา หรือคำสั่งที่ถึงที่สุดนั้นได้วินิจฉัยในเนื้อหาของเรื่องที่ฟ้องร้องกันโดย วินิจฉัยอย่างเดียวกับคดีก่อนที่ศาลได้วินิจฉัยมาและต้องเป็นส่วนของเนื้อหา ด้วย (หากไม่ใช่ก็ไม่เป็นฟ้องซ้ำ) 3.

มาตรา 147 อาญา

"เหตุอย่างเดียวกัน" หมายถึง คำพิพากษา หรือคำสั่งที่ถึงที่สุดนั้นได้วินิจฉัยในเนื้อหาของเรื่องที่ฟ้องร้องกันโดยวินิจฉัยอย่างเดียวกับคดีก่อนที่ศาลได้วินิจฉัยมาและต้องเป็นส่วนของเนื้อหาด้วย ถ้าหากไม่ใช่ก็ไม่เป็นฟ้องซ้ำ คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2349/2553 แม้จำเลยทั้งสองในคดีนี้เป็นจำเลยคนเดียวกับจำเลยในคดีแพ่งหมายเลขแดงที่ 291/2529 ของศาลชั้นต้น ที่ดินพิพาทเป็นที่ดินแปลงเดียวกัน และประเด็นพิพาทเป็นประเด็นเดียวกันก็ตาม แต่เมื่อโจทก์ไม่ใช่ผู้รับโอนสิทธิในที่ดินพิพาทมาจาก ส. โจทก์ในคดีก่อน แต่เป็นการฟ้องในฐานะเจ้าของคนก่อนซึ่งได้ขายที่พิพาทให้แก่ ส. กรณีจึงถือไม่ได้ว่าโจทก์ในคดีนี้เป็นผู้สืบสิทธิในที่พิพาทต่อจาก ส. โจทก์ในคดีก่อน โจทก์จึงเป็นบุคคลภายนอกที่มิใช่คู่ความเดียวกันกับคดีก่อน มีสิทธิฟ้องเพื่อพิสูจน์ว่าโจทก์มีสิทธิในที่พิพาทดีกว่าจำเลยทั้งสองได้ ________________________________ โจทก์ฟ้องขอให้ศาลบังคับจำเลยทั้งสองไปเพิกถอนหนังสือรับรองการทำประโยชน์ (น. ส.

  1. ซื้อ Hang Ten Men & rs ⁇ uo; s Walkshort ออนไลน์ใน Thailand B07BZGJX6R
  2. มาตรา 147 อาญา อธิบาย
  3. ดู the suicide squad 2021 พากย์ ไทย download
  4. เคส iphone 11 freitag price

มาตรา 158 อาญา อธิบาย

เมื่อมีการชันสูตรพลิกศพแล้ว ให้พนักงานสอบสวนและ พนักงานอัยการทำสำนวนชันสูตรพลิกศพให้เสร็จ ภายใน 30 วัน นับตั้งแต่วันที่ได้รับแจ้งความ ขยายเวลาได้ไม่เกิน 2 ครั้ง ครั้งละไม่เกิน 30 วัน (ต้องมีเหตุผลที่มีการขยายเวลา) 2. เมื่อได้รับสำนวนชันสูตรพลิกศพแล้ว ให้พนักงานอัยการทำคำร้องต่อศาล เพื่อให้ศาลทำการไต่สวน และทำคำสั่งแสดงว่า • ผู้ตายคือใคร? • ตายที่ไหน? • ตายเมื่อใด? • เหตุและพฤติการณที่ตาย? ถ้าเสียชีวิตโดยมีคนทำร้าย ต้องรู้ว่าใครเป็นผู้กระทำภายใน 30 วัน นับตั้งแต่วันที่ได้รับสำนวน ขยายเวลาได้ไม่เกิน 2 ครั้ง ครั้งละไม่เกิน 30 วัน (ต้องมีเหตุผลที่มีการขยายเวลา) 3. ในการไต่สวน ให้ศาลแจ้งกำหนดวันที่จะทำการไต่สวนไว้ที่ศาล และแจ้งวันนัดไต่สวนให้สามี ภริยา บุพการี ผู้สืบสันดาน ผู้แทน โดยชอบธรรม หรือญาติของผู้ตาย อย่างน้อย 1 คน ให้รู้ก่อนวันนัดไต่สวนไม่น้อยกว่า 15 วัน 4. ก่อนการไต่สวนเสร็จสิ้น สามี ภริยา บุพการี ผู้สืบสันดาน ผู้แทนโดยชอบธรรม หรือญาติของผู้ตาย มีสิทธิยื่นคำร้องต่อศาลขอเข้ามาซักถามพยาน นอกจากนี้ยังมีสิทธิแต่งตั้งทนายความดำเนินการแทนได้ 5. ศาลสามารถเรียกพยานมาสืบเพิ่มเติมได้ และยังขอให้ผู้เชียวชาญมาให้ความเห็นเพื่อประกอบการไต่สวนได้